ดีคิว.ไทย ดีคิว.ไทย

แบบสอบถามความฉลาดทางดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง


คำชี้แจง แบบสอบถามความฉลาดทางดิจิทัลนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบสังเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อความฉลาดทางดิจิทัลด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสังเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อความฉลาดทางดิจิทัลด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล ซึ่งแบบสอบถามความฉลาดทางดิจิทัลแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้

ส่วนที่ 1 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความฉลาดทางดิจิทัล
ส่วนที่ 2 องค์ประกอบของความฉลาดทางดิจิทัล

ส่วนที่ 1 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความฉลาดทางดิจิทัล
คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงตามข้อมูลเบื้องต้นของผู้ตอบแบบสอบถาม

----------------

โปรดระบุเพศ

โปรดระบุสถานภาพ

โปรดระบุเกรดเฉลี่ย

โปรดระบุคณะ/วิทยาลัย

โปรดระบุจำนวนพี่น้อง

โปรดระบุบุคคลที่เลี้ยงดู

โปรดระบุรูปแบบการเลี้ยงดู

โปรดระบุภูมิลำเนา

โปรดระบุสถานภาพสมรสของบิดามารดา

โปรดระบุรายรับเฉลี่ยต่อเดือนที่ได้รับจากผู้ปกครอง

ส่วนที่ 2 องค์ประกอบของความฉลาดทางดิจิทัล
คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงตามข้อมูลเบื้องต้นของผู้ตอบแบบสอบถาม ตามเกณฑ์และความหมายดังนี้

ระดับ 5 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง
ระดับ 4 หมายถึง เห็นด้วย
ระดับ 3 หมายถึง ไม่แน่ใจ
ระดับ 2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย
ระดับ 1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

----------------

1. การแสดงตัวตนบนโลกดิจิทัล (Digital Identity)


1.1 ทุกครั้งที่ท่านสร้างโปรไฟล์ท่านจะใช้ชื่อจริง

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


1.2 ทุกครั้งที่ท่านตั้งรูปโปรไฟล์ ท่านจะใช้รูปภาพของตนเอง

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


1.3 ทุกครั้งที่ท่านรู้สึกว่ามีคนไม่เห็นด้วยกับความคิดของท่านในสื่อดิจิทัล ท่านจะเพิกเฉยทันที

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


1.4 ทุกครั้งที่ท่านรู้สึกว่าสื่อสารกับผู้ที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมในสื่อดิจิทัล ท่านจะหยุดสื่อสารทันที

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้

2. การใช้เครื่องมือและสื่อดิจิทัล (Digital Use)


2.1 ทุกครั้งที่ท่านทำงานหรือเรียน ท่านจะไม่เข้าดูสื่อดิจิทัล

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


2.2 ทุกครั้งที่ท่านใช้สื่อออนไลน์ ท่านจะจัดสรรเวลาได้อย่างเหมาะสม

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


2.3 ทุกครั้งที่ท่านต้องการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ท่านจะเลือกใช้เครื่องมือที่น่าเชื่อถือในการค้นหาข้อมูลเสมอ

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


2.4 ทุกครั้งที่ท่านอยู่กับครอบครัว ท่านจะไม่ใช้สื่อดิจิทัล

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้

3. ความปลอดภัยทางดิจิทัล (Digital Safety)


3.1 ทุกครั้งที่ท่านรู้สึกว่าถูกคุกคามบนสื่อดิจิทัล ท่านจะหลีกเลี่ยงหรือหยุดการสื่อสารทันที

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


3.2 ทุกครั้งที่ท่านถูกรังแกด้วยคำพูดหรือรูปภาพบนสื่อดิจิทัล ท่านจะหลีกเลี่ยงหรือหยุดการสื่อสารทันที

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


3.3 ทุกครั้งที่ท่านถูกผู้อื่นขอข้อมูลส่วนบุคคลบนสื่อดิจิทัล ท่านจะหลีกเลี่ยงหรือหยุดการสื่อสารทันที

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


3.4 ทุกครั้งที่ท่านใช้งานสื่อดิจิทัล ท่านจะไม่เลือกดูเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมหรือเว็บไซต์ลามกอนาจาร

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้

4. ความมั่นคงปลอดภัยทางดิจิทัล (Digital Security)


4.1 ทุกครั้งที่ท่านใช้งานสื่อดิจิทัล ท่านสามารถรับรู้ได้เมื่อเกิดภัยคุกคาม

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


4.2 ทุกครั้งที่ท่านใช้งานสื่อดิจิทัล ท่านใช้โปรแกรมเพื่อตรวจสอบภัยคุกคามที่ส่งผลต่อความเสียหายของสื่อดิจิทัล

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


4.3 ทุกครั้งที่ท่านรู้สึกสงสัยในตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ท่านจะไม่สื่อสารกับบุคคลนั้น

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


4.4 ทุกครั้งที่ท่านสร้างรหัสผ่าน จะไม่มีผู้ใดได้รับรู้รหัสผ่านของท่าน

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้

5. ความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจิทัล (Digital Emotional Intelligence)


5.1 ทุกครั้งที่ท่านรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น เมื่อพวกเขาโพสต์ข้อความเศร้าท่านจะเพิกเฉย

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


5.2 ทุกครั้งที่ท่านเห็นข้อความขอความช่วยเหลือ ท่านจะโพสต์คำแนะนำกลับไปหาเขา

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


5.3 ทุกครั้งที่ท่านใช้งานสื่อดิจิทัล ท่านจะโพสต์ข้อความแสดงความรู้สึกน้อยใจหรือรู้สึกโกรธเพื่อนหรือคุณรู้จัก

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้

6. การสื่อสารดิจิทัล (Digital Communication)


6.1 ทุกครั้งที่ท่านทักทายเพื่อนหรือคนรู้จัก ท่านจะใช้คำพูดที่สุภาพ

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


6.2 ทุกครั้งที่ท่านทำงานร่วมกับผู้อื่น ท่านจะบังคับให้ผู้อื่นใช้ช่องทางการสื่อสารที่ท่านถนัดเท่านั้น

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


6.3 ทุกครั้งที่ท่านต้องการมอบหมายงานให้ผู้อื่นอย่างเร่งด่วน ท่านจะมอบหมายงานผ่านสื่อดิจิทัล โดยใช้ภาษาที่สุภาพ

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


6.4 ทุกครั้งที่ท่านทำงานร่วมกับผู้อื่น ท่านใช้สื่อดิจิทัลเป็นสื่อกลางที่สามารถช่วยทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้

7. การรู้ดิจิทัล (Digital Literacy)


7.1 ทุกครั้งที่ท่านค้นหาข้อมูลประกอบการทำงาน ท่านจะเลือกใช้สื่อดิจิทัลที่น่าเชื่อถือและถูกต้องเท่านั้น

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


7.2 ทุกครั้งที่ท่านค้นหาข้อมูลในชีวิตประจำวัน ท่านจะเลือกใช้แหล่งข้อมูลดิจิทัลที่เชื่อถือได้และถูกต้องเท่านั้น

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


7.3 ทุกครั้งที่ท่านค้นหาข้อมูล ท่านใช้สื่อดิจิทัลเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


7.4 ทุกครั้งที่ท่านได้รับความรู้จากสื่อดิจิทัล ท่านจะแบ่งปันความรู้นั้นกับผู้อื่น

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


7.5 ทุกครั้งที่ท่านต้องการแยกแยะข้อเท็จจริงประกอบการตัดสินใจ ท่านจะเลือกใช้สื่อดิจิทัลที่น่าเชื่อถือ

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้

8. สิทธิทางดิจิทัล (Digital Rights)


8.1 ทุกครั้งที่ท่านต้องการใช้ผลงานของผู้อื่น ท่านจะอ้างอิงแหล่งที่มาเสมอ

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


8.2 ทุกครั้งที่ท่านแบ่งปันข้อมูลในสื่อดิจิทัล ท่านจะไม่ละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวและกฎหมายลิขสิทธิ์

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


8.3 ทุกครั้งที่ท่านต้องการดาวน์โหลดซอฟต์แวร์หรือภาพยนตร์ ท่านจะไม่ดาวน์โหลดที่ผิดลิขสิทธิ์

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


8.4 ทุกครั้งที่ท่านแสดงความคิดเห็นบนสื่อดิจิทัล ท่านไม่อ้างถึงบุคคลอื่น

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้


8.5 ทุกครั้งที่ท่านโพสต์ข้อความในสื่อดิจิทัล ท่านจะนึกถึงผลกระทบต่อสังคม

โปรดระบุข้อมูลในช่องนี้
เว็บไซต์นี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัย "การพัฒนาระบบสังเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อความฉลาดทางดิจิทัลด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล"

พัฒนาโดย ว่าที่ร้อยตรี ดร.ชัยชนะ กุลวรฐิต และทีม | ติดต่อ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เลขที่ 1 ซอยฉลองกรุง 1 แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520

ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด 30 กรกฎาคม 2565 21:07 น.